วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่13


บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จินตนา สุขสำราญ

ครั้งที่ 13   วันที่่ 13 พฤศจิกายน 2557

เวลา 08.30 - 12.20 น. ห้อง 233


     ความรู้ที่ได้รับ  Knowledge

            นำเสนอวิจัยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย สรุปได้ดังนี้




   
          เทคนิคการสอน Teaching Techniques

           ใช้คำถามเป็นตัวกระตุ้นเพื่อหาคำตอบที่หลากหลาย

     
          การนำไปประยุกต์ใช้ The applied

             สามารถนำไปปรับใช้ในจัดกิจกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้จากการฟังวิจัย

   
           ประเมิน  Rate

          อาจารย์ 100%   เข้าสอนตรงเวลา ให้คำแนะนำปรึกษา บอกเทคนิคในการนำไปใช้ในอนาคต

          ตนเอง 100%  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังและจดบันทึก

          เพื่อน100%    ตั้งใจฟัง ให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม แต่งกายเรียบร้อย


                                 

บันทึกอนุทินครั้งที่12


บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จินตนา สุขสำราญ

ครั้งที่ 12   วันที่่ 6 พฤศจิกายน 2557

เวลา 08.30 - 12.20 น. ห้อง 233


  
      ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)

      วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาออกมาสอนแผนตามหน่วยต่างๆดังนี้

  1. หน่วยกล้วย BaNaNa   ชนิดของกล้วย    
   วัตถุประสงค์
  1. บอกชนิดของกล้วยได้
  2. บอกจำนวนนับ
  3. เปรียบเทียบมากกว่าน้อยกว่า
  4. จัดหมวดหมู่กล้วยได้

      



      2.  หน่วยไก่ Chicken   ลักษณะไก่
    

      วัตถุประสงค์

  1. บอกลักษณะของไก่แต่ละชนิดได้
  2. เปรียบเทียบความเหมือนต่างของไก่ได้
       ลักษณะ
  1. สังเกตุสีของไก่
  2. สังเกตขนาดของไก่


 3. หน่วยกบ  Frog  วงจรชีวิตกบ

       วัตถุประสงค์
  1. ได้เรียนรู้วงจรชีวิตของกบ
  2. ได้รู้การจำศีลของกบคืออะไร



   
     4.   หน่วยปลา Fish   ประโยชน์และข้อพึงระวัง     

          วัตถุประสงค์
  1. บอกประโยชน์และข้อพึงระวังได้
  2. เปรียบเทียบประโยชน์และข้อพึงระวังได้
      นิทานเรื่อง ชาวประมงกับปลากระพง



      5.  หน่วยข้าว Rice สอนCooking  ข้าวคลุกไข่




    ส่วนผสม Ingredient     ข้าวคลุกไข่

  1. น้ำมันพืช 1ช้อนโต๊ะ
  2. น้ำปลา 2 ช้อนโต๊ะ
  3. ไข่ไก่ 2 ฟอง
  4. แครอท 2 ช้อนโต๊ะ
  5. ต้นหอม 2 ช้อนโต๊ะ
 6.  หน่วยต้นไม้ Tree  ชนิดของต้นไม้

  วัตถุประสงค์

  1. บอกชนิดของต้นไม้แต่ละชนิดได้
  2. เปรียบเทียบมากกว่าน้อยกว่าได้
  3. บอกจำนวนนับแทนด้วยเลขฮินดูอาร์บิกได้




    7.หน่วยนม Milk  ลักษณะของนม


  1. นมมีรูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะที่ใส่บรรจุ
  2. นมมีการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง
  3. นมมีหลายกลิ่น หลายรสชาติ


   8.  หน่วยน้ำ Water การอนุรักษ์น้ำ


  1. ร้องเพลงอย่าทิ้ง อย่าทิ้ง
  2. เล่านิทานเรื่องหนูนิด เกี่ยวกับการอนุรักษ์น้ำ
  3. ช่วยกันตั้งคำถาม แล้วช่วยกันออกแบบป้ายอนุรักษ์น้ำ




  9.หน่วยมะพร้าว CoConut  การเจริญเติบโต


10. หน่วยผลไม้ Fruit สอนCooking   ผลไม้ผัดเนย

   ส่วนผสม Ingredient   ผลไม้ผัดเนย
  1. เนย1ช้อนโต๊ะ 
  2. ฝรั่ง2ช้อนโต๊ะ
  3. ข้าวโพด2ช้อนโต๊ะ
  4. แอปเปิ้ล2ช้อนโต๊ะ
  5. สัปปะรส2ช้อนโต๊ะ
  6. ท็อปปิ้งต่างๆเช่น เยลลี่ ผงโอวัลติน น้ำผึ้ง นมข้น  

  







   
   เทคนิคการสอน  Teaching Techniques


  1. สร้างข้อตกลงร่วมกันให้ห้องเรียน
  2. ลงมือปฏิบัติจริง
  3. ใช้คำถามปลายเปิดที่หลากหลาย
  4. ให้คำแนะนำแก้ไขปรับปรุง
   
  การนำไปประยุกต์ใช้  Applications

  1. นำไปปรับใช้ในการสอนแผนการจัดประสบการณ์
  2. สามารถบูรณาการให้สอดคล้องในวิชาวิทยาศาสตร์
     
      ประเมิน  Rate


     อาจารย์ 100%  สอนตรงเวลาให้คำแนะนำติชมมีการใช้คำถามที่หลากหลาย

      ตนเอง  100%  แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอการสอน

     เพื่อน100 %   แต่งกายเรียบร้อยให้ความร่วมมือในการสอนตั้งใจฟังจดบันทึก


                           
  
    




วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่11


บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จินตนา สุขสำราญ

ครั้งที่ 11   วันที่ 30 ตุลาคม 2557

เวลา 08.30 - 12.20 น. ห้อง 233



      ความรู้ที่ได้รับ

                  เริ่มต้นชั่วโมงในวันนี้อาจารย์ได้พูดถึงกรอบวิทยาศาตร์ซึ่งมีความสำคัญและสอดคล้องกับ

วิชานี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาลองกลับไปดูกรอบวิทยาศาตร์

                                จากนั้นอาจารย์มีกิจกรรมการทดลองมาให้ลองทำ

       กิจกรรมทดลองที่1  

              ให้แถว1- 2 ปั้นดินน้ำมันเป็นลูกกลมๆแล้วนำไปหยอนลงในน้ำ สังเกตดูว่าดินน้ำมันจมน้ำ จาก

นั้นให้แถวที่เหลือลองคิดหาวิธีดูว่าทำอย่างไรให้ดินน้ำมันลอยน้ำ ทุกคนๆจึงปั้นดินน้ำมันเป็นรูปกระทะ

บ้างก็ปั้นเป็นทรงเรือตามที่อาจารย์แนะนะแล้วนำมาลอย   สรุป  มวลเบากว่าน้ำเลยพยุงให้ลอยน้ำได้



      กิจกรรมทดลองที่ 2
     

   อาจารย์แจกกระดาษคนละ1แผ่นจากนั้นพับกระดาษให้เป็น4ส่วนทำการวาดดอกไม้ลงไปแล้วตัดออก

ตกแต่งให้สวยงามจากนั้นพับกลีบดอกไม้เข้าหากันทุกๆกลีบเป็นรูปดอกไม้ตูมๆจากนั้นนำดอกไม้ของ

ของแต่ละคนมาวางลงบนน้ำสังเกตได้ว่าเมื่อนำดอกไม้มาปล่อยลงบนผิวน้ำดอกไม้เกิดการบานออก

และลอยตัวอยู่บนผิวน้ำ   สรุป  น้ำมีการซึมเข้าไปในแผ่นกระดาษเหยี่ยที่โป่ง  เช่นกันกับการทดลองราก

ดูดน้ำการดูดซึมของต้นไม้ 



   กิจกรรมการทดลองที่ 3

     นำขวดน้ำมาทำการเจาะรูตามแนวตั้งของขวดด้วยกัน3ลำดับแล้วนำเทปกาวมาปิดรูที่เจาะทั้ง3 

จากนั้นเติมน้ำใส่ขวดให้เต็ม

  1. ทดลองเปิดเทปกาวรูบนสุด น้ำที่ไหลออกมาจากรูที่เจาะค่อนข้างไหลออกมาช้า
  2. ทดลองเปิดเทปกาวรูกลาง น้ำที่ไหลออกมาจากรูที่เจาะค่อนข้างเร็วกว่ารูบน
  3. ทดลองเปิดเทปกาวรูล่างสุด น้ำที่ไหลออกมาจากรูที่เจาะแรงกว่ารูที่เจาะทั้งหมด
  สรุป   น้ำมีโมเลกุลเป็นจำนวนมากและมีน้ำหนัก   เมื่อมีน้ำมากขึ้น น้ำหนักของโมเลกุลก็จะกดลงด้าน

ล่างมากทำให้ความดันน้ำเพิ่มขึ้นเมื่อมีความลึกเพิ่มขึ้นจึงทำให้รูด้านล่างมีน้ำไหลแรงกว่า



    กิจกรรมการทดลองที่ 3
  
     นำขวดน้ำต่อสายยางไว้ภายในขวดจากนั้นให้ปลายสายมีภาชนะรองรับน้ำผจากนั้นเทน้ำใส่ลงใน

ขวดให้เต็มจากการทดลองพบว่าภาชนะที่รับน้ำอยูู่่ต่ำกว่าขวดน้ำๆจะไหลออกตามสายยางปกติแต่ถ้า

เมื่อใดภาชนะรองรับน้ำอยู่เท่ากับขวดน้ำๆก็จะไม่ไหลออก  สรุป  น้ำไหลลงจากที่สูงลงที่ต่ำ



     กิจกรรมการทดลองที่ 4

       นำแก้วเปล่ามา1ใบ จากนั้นจุดเทียนวางไว้1แท่ง แล้วนำแก้วเปล่ามาครอบลงไปในเทียนสังเกตได้

ว่าเทียนที่ถูกครอบดับลงหรืออาจจะเทน้ำลงให้ภาชนะที่วางเทียนแล้วนำแก้วมาครอบสังเกตว่าน้ำจะ

ไหลเข้าไปยังเเก้วที่ครอบเทียน  สรุป  เมื่ออากาศที่อยู่ภายในแก้วหมดไปจะทำให้เทียนดับและน้ำจะ

ไหลเข้าไปแทนที่อากาศ    ลิงก์




     กิจกรรมการทดลองที่ 5

         นำแก้วที่มีน้ำใส่อยู่มา1ใบจากนั้นน้ำดินสอหรือปากกาใส่ลงไปในแก้วแล้วสังเกตปากกาหรือดินสอ

ที่เราใส่นั้นจะมีขนาดใหญ่สามารถนำวิธีนี้ไปใช้เมื่อไม่มีแว่นขยายได้   สรุป  การหักเหของแสง



         คำศัพท์  (Vocabulary)

  1. ดินน้ำมัน จม-ลอย (Clay sink - float)
  2.  ดอกไม้บานกลางสายน้ำ (Flowers bloom in the Stream)
  3.  ระดับน้ำพุ่งไกล (The water level rises far)
  4.  การไหลของน้ำ Water flow
  5.  แก้วดับเทียน Glass candle fire
  6. แก้วน้ำขยายปากกา (Extending a pen mug)


       ประเมิน

    อาจารย์100%   เข้าสอนตรงเวลาที่เทคนิคการสอนที่หลากหลายมีกิจกรรมให้นักศึกษาทำ

    ตนเอง100 %  เข้าตรงเวลาตั้งใจฟังร่วมมือการทำกิจกรรมดี มีการจดบันทึก

    เพื่อน 100%   ตั้งใจฟังให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม





อนุทินครั้งที่10

บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จินตนา สุขสำราญ

ครั้งที่ 10   เรียนชดเชยในวันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม 2557

เวลา 08.30 - 12.20 น. ห้อง 233

   เนื่องจากวันที่ 23  ตุลาตรงกับวันปิยมหาราชจึงมีการเรียนชดเชยในวันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม 



   ความรู้ที่ได้รับ


        วันนี้เรียนเรียนเกี่ยวกับการเขียนแผน(กลุ่มต้นไม้)





           การเขียนแผนการสอนในแต่ละวันควรมีเนื้อหาให้ตรงกับอาทิตย์นั้นๆการเขียนแผนประกอบด้วย

ขั้นนำ อาจใช้เป็น เพลง เกม  นิทาน หรือคำคล้องจอง   ขั้นสอน อาจใช้คำถามทบทวน เช่น ภาพที่

เด็กๆ เห็นมีลักษณะสี รูปร่างอย่างไร มีอะไรเพิ่มเติมอีกไหม  ขั้นสรุป ครูและเด็กร่วมกันอภิปราย พร้อม

สรุปเป็นตารางให้เด็กได้คิดเคราะห์ 





    เทคนิคการสอน 

  1.    การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสมกับพัฒนาการ
  2.    การใช้คำถามปลายเปิด เพื่อเป็นตัวกระตุ้น
  3.    การใช้สื่ออุปกรณ์เทคโนโลยีในการสอน
   
     การนำไปประยุกต์ใช้

  1. การเขียนแผนการสอรควรคำนึงถึงพัฒนาการเด็กเป็นหลักเน้นกิจกรรมเสริมประสบการณ์
  2. การเขียนแผนควรเขียนเลือกหน่วยที่หลากหลาย เรื่องใกล้ตัวเด็กเรื่องที่เด็กสนใจ

     ประเมินการสอน

  อาจารย์ 100%  เข้าสอนตรงเวลา มีการใช้คำถามที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้นักศึกษาถามแสดงความ

  คิดเห็น สอนการเขียนแผนครบทุกขั้นตอนอย่างละเอียด

ตนเอง 80%  มาเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย  ตั้งใจฟังร่วมตอบคำถามที่อาจารย์ถามคิดแสดงความ

คิดเห็น แต่ยังเขียนแผนไม่ตรงตามที่หลักเท่าที่ควร 

เพื่อน 90%  ตั้งใจเรียน ร่วมกันตอบคำถามอาจารย์